การจัดการเจ้านายและลูกน้อง
ในการทำงานไม่ว่าจะอยู่ในองค์กรหรือหน่วยงานใดก็ตาม “เมื่อเราเป็นเจ้านาย เราก็จะต้องมีลูกน้อง” เราก็ต้องเรียนรู้วิธีการที่จะบริหารงานหรือจัดการกับลูกน้องให้ถูกต้องตามที่ภาษาสากลเขาว่า “put the right man into the right job” แต่บางสถานการณ์เราก็มีแต่เจ้านายไม่มีลูกน้อง เราก็ต้องเรียนรู้วิธีการที่จะบริหารเจ้านาย เพื่อให้การทำงานของเราดำเนินไปด้วยดีเช่นเดียวกัน
มีข้อมูลจากงานวิจัยเกี่ยวกับเจ้านายและลูกน้อง (พ.ศ. 2538) สรุปประเด็นสมมุติฐานที่สำคัญได้ดังนี้
สมมุติฐานที่เกี่ยวกับเจ้านาย
-มักคิดว่าตัวเองมีอำนาจ
-เขาต้องการการยอมรับจากลูกน้อง
-คาดหวังให้ลูกน้องเชื่อฟังและคล้อตามความคิดของตน
-คาดหวังผลงานที่ดีมีคุณภาพ / ได้มาตรฐานตามแผนงานที่กำหนด
-โดยปกติเมื่อสั่งงานแล้ว (มักใจร้อน) ต้องการงานเสร็จเร็วที่สุด
-บางครั้งมีความรู้หวาดระแวง กลัวว่าลูกน้องเลื่อยขาเก้าอี้
-อยากเห็นลูกน้องทำงานด้วยความทุ่มเท ขยัน ทำงานหนัก
-ต้องการให้ลูกน้องปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑ์ และนโยบายของบริษัท
-คาดหวังให้ลูกน้องรักษาผลประโยชน์ของบริษัท
-เครียดง่ายเพราะถูกคาดหวังจากบริษัท ลูกค้า หรือจากผู้มีตำแหน่งสูงกว่า
สมมุติฐานเกี่ยวกับลูกน้อง
-ต้องการได้รับความสนใจจากเจ้านาย
-มีลักษณะของการพึ่งพิงและพึ่งพาสูง
-ต้องการรางวัล เพื่อเป็นขวัญกำลังใจเมื่อทำงานสำเร็จ
-ต้องการกำลังใจและแรงสนับสนุน เมื่อเจออุปสรรคหรือรับมอบหมายงานที่ยาก
-รู้สึกน้อยใจและอาจจะมีปฏิกิริยาต่อต้าน เมื่อรู้สึกว่าไม่ได้รับความเป็นธรรม
-ชอบเอาตัวเองเปรียบเทียบกับลูกน้องอื่นๆ ในระดับเดียวกัน
-ต่อต้านการเปลี่ยนแปลงที่ตนเองไม่ได้มีส่วนร่วม
-อาจขาดความเชื่อมั่นในตนเอง เมื่อได้รับคำสั่งไม่ชัดเจนหรือเมื่อรับงานใหม่มาทำ
-ต้องการความเป็นอิสระ มีความเป็นตัวของตัวเองในการทำงาน
-ต้องการโอกาสในการแสดงความสามารถ
-ต้องการโอกาสและความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน
หลักการบริหารเจ้านาย
เพื่อให้การทำงานของเราสำเร็จ โดยที่จะต้องอาศัยความร่วมมือจากเจ้านาย ดังนั้นลูกน้อง (เรา) จึงควรเรียนรู้วิธีการบริหารและการชักจูงใจ (Convince) เจ้านาย ดังนี้
-เมื่อได้รับมอบหมายงานมา ต้องทำงานด้วยความรวดเร็วและถูกต้อง
-มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักการปรังปรุงงาน (ใช้ประสบการณ์ช่วย)
-เรียนรู้วิธีการทำงานของนาย และความคาดหวังของนาย
-ขัดแย้งกับนายอย่างสร้างสรรค์ คือต้องนำหลักการเสนอแนะมาใช้เป็นเหตุผล
ให้เจ้านายทราบในมุมมองความคิดของเรา (อย่าทำตนเป็นขุนพลอยพยัก แต่ก็
ไม่ทำตนเป็นดั่งจระเข้ขวางคลองด้วย)
-รักษามาตรฐานของงานให้สม่ำเสมอ
-รักษาสัมพันธภาพที่ดีในสถานะที่เหมาะสมกับเจ้านาย
-ควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ แม้ขณะนั้นจะอยู่ภายใต้ความกดดัน
-ทำตนเป็นคนง่ายๆ ใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แสดงความยินดีและเต็มใจในการ
ทำงาน ไม่มากด้วยพิธีรีตอง
-ทำตนให้เป็นประโยชน์ พร้อมที่จะทำตนให้พร้อมในการทำงานได้ (ต้องระวัง
เพราะอาจจะคล้ายกับการเสนอหน้าหรือประจบประแจง)
-มีความคิดเชิงบวก เช่น นำความดีของนายไปพูดต่อ
หลักการบริหารลูกน้อง
การบริหารลูกน้อง ต้องคำนึงถึงหลักการบังคับบัญชา ความสามารถในการชักจูงใจลูกน้อง การบังคับบัญชา คือ การทำให้ผู้อื่นทำตามคำสั่งด้วยความเต็มใจ และเต็มความสามารถ ความเต็มใจของลูกน้องเกิดจากฐานบารมี ความศรัทธา และความสามารถในการเป็นตัวอย่างที่ดี ด้วยความสามารถในการสอนงานที่ดี การสอนงานยังช่วยให้ลูกน้องทำตามคำสั่งอย่างเต็มความสามารถ ดังนั้นหลักการบริหารและหลักการชักจูงใจลูกน้อง ประกอบด้วย
-ให้คำปรึกษาเมื่อลูกน้องมีปัญหา (แต่ไม่ใช่ทุกปัญหาทุกเรื่อง)
-ให้ความรัก / สร้างความศรัทธาและการยอมรับ
-มีจุดยืนของชีวิต (ตามหลักสากลที่ว่า I am O.K., you are O.K.)
-สอนงานและเป็นแบบอย่างที่ดีในการทำงาน
-มีทักษะจูงใจให้ลูกน้องรักงานที่ทำ ลูกน้องจะทำงานนั้นด้วยความเต็มใจ
จากประสบการณ์ที่ทำงานมากว่า 20 ปี ทั้งเริ่มจากการเป็นลูกน้อง จนได้รับโอกาสพัฒนามาเป็นหัวหน้างาน และสุดท้ายมาเป็นเจ้าของกิจการของตนเอง เชื่อว่าสิ่งต่างๆ เหล่านี้จะทำให้ท่านผู้ที่มีโอกาสได้อ่านและรับรู้ จะนำไปแนวทางในการทำงานกันได้บ้าง ความรู้ต่างๆ ที่ได้รับมานอกจากตำราที่ล่ำเรียนมาแล้ว ก็ล้วนมาจากประสบการณ์ที่ได้มีโอกาสได้เรียนรู้และศึกษาเพิ่มเติมจากเจ้านายหลายๆ ท่าน
ศึกษาและใฝ่เรียนรู้กันเถอะครับ
การเรียนรู้ ไม่มีวันสิ้นสุด
Management, boss and subordinate
In the whether it is in any organization or agency. "When we are the boss. We will have to have a boss.” This would have to learn how to manage or deal with his right. As a universal language, he said "put the right man into the right job." But the situation we have, but his boss does. We just need to learn how to manage the boss. We continue to work with as well.
With data from research on the boss and the boss (2538). The assumptions are summarized as follows:
Assumptions about the boss :
- Often think they have the power
- He wants recognition from the boss
- Expect them to his obedience, and to chart their own ideas
- Expect the best quality / standards of the plan
- Usually when I run it (usually bad) to finish as soon as possible
- Sometimes there is knowledge, suspicion. I saw that his chair legs
- Wants to see his hard work, dedication and hard work
-To ensure staff are complying with the rules. And company policies
-Expect to be subordinate to the interests of the company
- Because I was expecting from the client or from a higher position
Assumptions about men :
- To get the attention of the boss
- The nature of dependence and reliance on high
- Want to win. The morale was running successfully
- For encouragement and support. Encounter obstacles or difficult assignments
- Feel hurt and may have reacted against. When I did not get justice
-Like my own with other men. The same level
- Resistance to change, they did not participate
-May lack confidence in themselves. When orders are unclear or when
The job was done
- Want independence. It is one's own work
- The opportunity to show their talents
- The opportunities and career advancement
Management Boss :
To make our work successful, this will require cooperation from the boss. So the boss (we) should learn how to manage and influence (Convince) the boss:
- When assigned to work. Need to work quickly and accurately
- Be creative. How to update applications. (Experience helps)
- Be creative. How to update applications. (Experience helps)
-Learn how to's. And the expectations of Mr.
- Conflict with the creative. The proposal is to be used as a reason
To a master's in view of our opinion
To a master's in view of our opinion
- Maintain a consistent standard of work
- Maintain good relations with the boss in that state
- Control of their emotions. Even when it is under pressure
- Maintain good relations with the boss in that state
- Control of their emotions. Even when it is under pressure
- Make it as easy. Face beaming. Congratulated on their willingness
Work is not very stiff
Work is not very stiff
-Makes himself useful. Ready to make himself ready for work
-There is a positive example of the good things to say
Management Staff :
Management of subordinates, regardless of the supervisor, the ability to influence subordinates. The supervisor is to make others follow the instructions wholehearted and full capacity. The willingness of the staff of the acts of faith and the ability to be a good example. With the ability to teach a good job. The coaching staffs also follow the instructions at full capacity. Thus, the influence of management and staff include:
- Provide advice on his problem
- Give Love / build faith and acceptance
-The position of life (I am O.K., you are O.K.)
-Teaching and is a good model to work
- I have the skills to motivate his work. His willingness to work with
Of experience working for more than 20 years. Both started out as a subordinate. Has been developed as a supervisor. And finally the owner of the company. Believe different things. These will give you a chance to read and recognize. Will guide the work it does. Knowledge acquired in school textbooks, then advanced. It comes from experience, to have the opportunity to learn and master many more of you.
Let me learn and eager to learn. Learning never ends
ฟิฟตี้-ฟิฟตี้ 2000 เครื่องดื่มชูกำลัง ตรา 50-50 ของคนไทยทั่งประเทศ ของคน จ.นครปฐม
ของดีคนทำงาน เครื่องดื่ม คนทำงาน น่าสนใจ ของใหม่ที่คนไทยรู้จักมานาน 50-50 ฟิฟตี้-2000 บ.นครปฐมเครื่องดื่ม จำกัด
[แก้] ประโยชน์ของเครื่องดื่มชูกำลัง
นักวิจัยกล่าวว่า เนื่องจากเครื่องดื่มชูกำลังมีส่วนผสมของทอรีน ซึ่งสามารถลดอาการเมาค้าง ลดคลอเลสเตอรอล แต่ก็มีบางรายอ้างสรรพคุณว่า ช่วยส่งกระแสความรู้สึกให้ไวขึ้น ซึ่งคล้ายกับสารในนมแม่ ทำให้เครื่องดื่มของเด็กบางยี่ห้อได้ไส่สารนี้เข้าไป และยังมีสารอาหารประเภทวิตามินอีกหลายแบบ เช่น วิตามินบี6 ซึ่งช่วยช่วยบรรเทาการคลื่นไส้อาเจียน และ ช่วยร่างกายสร้างน้ำย่อยในกระเพาะอาหารและแร่ธาตุแมกนีเซียม และวิตามินบี12 ที่มีคุณสมบัติช่วยสร้างเม็ดเลือดแดง สำหรับเครื่องดื่มชูกำลังบางยี่ห้อที่มีราคาสูงจะมีส่วนผสมของสารกลูคูโรโนแลกโตน ซึ่งเป็นสารประกอบอีกชนิดหนึ่งของเครื่องดื่มชูกำลังช่วยทำให้ทุเลาอาการเหนื่อย ช่วยบำรุงข้อต่อส่วนต่างๆ ของร่างกาย [27]
[แก้] ผลกระทบของเครื่องดื่มชูกำลัง
[แก้] ด้านสุขภาพ
นักวิชาการหลายท่านออกมากล่าวว่า โทษของเครื่องดื่มชูกำลังส่งผลกระทบร้ายแรงในด้านจิตใจ เช่น กระสับกระส่าย มือเท้าสั่น โดยเฉพาะในเด็ก ในกรณีดื่มเครื่องดื่มชูกำลังร่วมกับสุรา จะทำให้เพิ่มอาการเมาเป็น 2 เท่า ส่วนอาจารย์จูเลีย เชสเตอร์ อาจารย์ท่านหนึ่งกล่าวว่า คนส่วนใหญ่ตกเป็นเหยื่อของสุรา แต่คนเหล่านั้นก็ยังพยายามก็จะต่อสู้จากการโฆษณาสุรา ทำให้เป็นที่มาของการโฆษณาเครื่องดื่มชูกำลังในท้องตลาด สำหรับในสถานศึกษาก็เริ่มมี "เหล้าชูกำลัง" เนื่องจากนักศึกษาบางคนต้องการดื่มสุรา แม้ว่าจะผิดกฎหมายก็ตาม โดยเครื่องดื่มชูกำลังที่ผสมกับสุรานั้น มีอันตรายมากกว่าอาการเมาค้าง ถึงแม้จะเป็นเครื่องดื่มที่ได้รับความนิยมก็ตาม ด้านแทมมี่ ลูว์ ผู้ช่วยผู้สนับสนุนสุขภาพ ของสำนักงานสุขภาพนักเรียน กล่าวว่า เครื่องดื่มชนิดนี้เมื่อดื่มเข้าไปแล้วจะไม่รู้สึกอ่อนล้าหรือเพลีย แต่จะเป็นอันตรายต่อเยาวชน เนื่องจากเยาวชนจะเข้าใจผิดว่าเครื่องดื่มชนิดนี้ดื่มแล้วจะไม่เป็นอันตราย อาการที่เกิดขึ้นได้แก่ เกิดอาการขาดน้ำ เนื่องจากฤทธิ์ของคาเฟอีนและแอลกอฮอล์ผสมกัน (ส่วนใหญ่คนจะเข้าใจผิดว่าการผสมเครื่องดื่ม 2 ชนิดเข้าด้วยกันจะช่วยแก้อาการเมาค้างได้) แต่ในการทดลองนำยากระตุ้นประสาทผสมกับยากดประสาท ปรากฏว่าไม่เกิดอาการเมาค้างแต่อย่างใด[28] สำหรับผลการวิจัยจากประเทศออสเตรเลียก็ระบุว่า การดื่มเครื่องดื่มชูกำลังอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต สำหรับคนที่มีอาการเครียด มีความดันโลหิตสูง หรือมีระบบการทำงานของระบบหลอดเลือดบกพร่อง สามารถทำให้เป็นโรคหลอดเลือดไปเลี้ยงสมองอุดตัน ได้ ทำให้มีนักวิชาการหลายท่านแนะนำว่าไม่ควรดื่มเครื่องดื่มชูกำลังวันละ 2 ขวด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น